Jump to content

300,000 Thb Deduction From Tax Basis


Recommended Posts

Not heard of this one, if you can post the Thai version one of our resident Thais can translate :)

It comes from the revenue department website: http://www.rd.go.th/publish/40895.0.html

It says that buyers who transfer in 2009 can deduct 300k from their taxable revenue if they have transferred and paid in 2009.

Here is the form you have to make your seller fulfill to get your tax cut:

http://www.rd.go.th/publish/fileadmin/user.../kormor/att.pdf

ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร

เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ ๑๗๘)

เรื่อง

กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้

เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคาร อาคารพร้อมที่ดิน หรือห้องชุด

ในอาคารชุด เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย

-------------------------------

อาศัยอำนาจตามความในวรรคสาม แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๗๑ (พ.ศ. ๒๕๕๒) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร อธิบดีกรมสรรพากรโดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้ออสังหาริม ทรัพย์ที่เป็นอาคาร อาคารพร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุด เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ การยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้เท่าที่จ่ายเป็นค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ ที่เป็นอาคาร อาคารพร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุด เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังนี้

(๑) ต้องเป็นการซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคาร อาคารพร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุด เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย และต้องมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์นั้นให้แล้วเสร็จใน ระหว่างวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

อสังหาริมทรัพย์ตามวรรคหนึ่งต้องไม่เคยผ่านการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในอาคารหรือห้องชุดมาก่อน ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน

(๒) การโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อตาม (๑) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเท่ากับจำนวนที่จ่ายจริงแต่รวมกันทั้งหมดแล้วไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท โดยต้องจ่ายไปในระหว่างวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

(๓) กรณีผู้มีเงินได้มีกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อหลายแห่ง ให้ได้รับยกเว้นภาษีได้ทุกแห่งรวมกันตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่รวมกันทั้งหมดแล้วไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท

(๔) กรณีผู้มีเงินได้หลายคนร่วมกันซื้อ ให้ได้รับยกเว้นภาษีได้ทุกคน โดยเฉลี่ยการได้รับยกเว้นภาษีตามส่วนของกรรมสิทธิ์ของแต่ละคน แต่รวมกันทั้งหมดแล้วต้องไม่เกินจำนวนที่จ่ายจริงและไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท

(๕) กรณีสามีหรือภริยามีเงินได้ฝ่ายเดียว ให้ยกเว้นภาษีให้แก่ผู้มีเงินได้เต็มจำนวนตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท

(๖) กรณีสามีภริยาต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ และความเป็นสามีภริยาได้มีอยู่ตลอดปีภาษีที่ได้รับยกเว้นภาษี ให้ได้รับยกเว้นภาษีดังนี้

(ก) ถ้าภริยาไม่ใช้สิทธิแยกยื่นรายการและเสียภาษีต่างหากจากสามีตามมาตรา ๕๗ เบญจ แห่งประมวลรัษฎากร ให้ได้รับยกเว้นภาษีรวมกันตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่รวมกันทั้งหมดแล้วไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท

(ข) ถ้าภริยาใช้สิทธิแยกยื่นรายการและเสียภาษีต่างหากจากสามีตามมาตรา ๕๗ เบญจ แห่งประมวลรัษฎากร ให้สามีและภริยาต่างฝ่ายต่างได้รับยกเว้นภาษีได้กึ่งหนึ่งของจำนวนที่จ่าย จริง แต่รวมกันทั้งหมดแล้วไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท

(๗) กรณีสามีภริยาต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ และความเป็นสามีภริยามิได้มีอยู่ตลอดปีภาษีที่ได้รับยกเว้นภาษี ซึ่งต้องยื่นรายการและเสียภาษีต่างหากจากกัน ให้ได้รับยกเว้นภาษีดังนี้

(ก) กรณีผู้มีเงินได้ซึ่งมีสิทธิได้รับยกเว้นภาษีอยู่ก่อนแล้ว ต่อมาได้สมรสกัน ซึ่งความเป็นสามีภริยามิได้มีอยู่ตลอดปีภาษี ให้สามีและภริยาซึ่งเป็นผู้มีเงินได้ต่างฝ่ายต่างยังคงได้รับยกเว้นภาษีตาม จำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท

(ข) กรณีผู้มีเงินได้สมรสกัน ต่อมามีสิทธิได้รับยกเว้นภาษี ให้สามีและภริยาต่างฝ่ายต่างได้รับยกเว้นภาษีได้กึ่งหนึ่งของจำนวนที่จ่าย จริง แต่รวมกันทั้งหมดแล้วไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท

ข้อ ๒ การได้รับยกเว้นภาษีตามประกาศนี้ ผู้มีเงินได้ต้องมีหนังสือรับรองจากผู้ขายที่พิสูจน์ได้ว่า มีการจ่ายเป็นค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ โดยหนังสือรับรองดังกล่าวต้องมีข้อความอย่างน้อยตามที่แนบท้ายประกาศนี้

ข้อ ๓ ผู้มีเงินได้ต้องมีชื่อเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อเป็น เวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าสามปี นับแต่วันที่จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว แต่ไม่รวมถึงกรณีผู้มีเงินได้ถึงแก่ความตาย

ข้อ ๔ กรณีผู้มีเงินได้ได้ใช้สิทธิยกเว้นภาษีตามข้อ ๑ และข้อ ๒ แล้ว และต่อมาได้ปฏิบัติไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ ๓ ผู้มีเงินได้ไม่มีสิทธิได้รับยกเว้นภาษี ผู้มีเงินได้ต้องนำเงินได้ที่ได้ใช้สิทธิยกเว้นภาษีไปแล้ว ไปรวมเป็นเงินได้เพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และกรณีที่ผู้มีเงินได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพิ่มเติม เพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพิ่มเติมของปีภาษี

ข้อ ๕ การได้รับยกเว้นภาษีตามประกาศนี้ ให้ผู้มีเงินได้นำเงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีไปคำนวณหักจากเงินได้พึง ประเมินตามมาตรา ๔๐ แห่งประมวลรัษฎากร เมื่อได้หักตามมาตรา ๔๒ ทวิ ถึงมาตรา ๔๖ แห่งประมวลรัษฎากรแล้ว

ข้อ ๖ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

วินัย วิทวัสการเวช

(นายวินัย วิทวัสการเวช)

อธิบดีกรมสรรพากร

Link to comment
Share on other sites

I have been advised that in order to get the Baht 300,000 tax deduction for this year 2009, you need to buy a NEW development in calendar year 2009?? not a second hand condo or house....is that right?

also for the normal Baht 100,000 deduction (on mortgage interest payments) for every year...is that ON TOP of the Baht 300,000 special 2009 deduction??

if yes, that (together with Baht 500,000 for long term mutual fund investment deduction), would be GREAT!!! every bit helps....

Link to comment
Share on other sites

Hi,

As I read it, there is no requirement that the home need to be new. But one thing I notice is that you can't deduct the 300K THB if you paid in cash. You need to take a mortage on your condomenium, which is very hard to do in Thailand. If your loan is made in Singapore, then I believe you will not be able to provide the paper works that Revenue Department will require.

Unfortunately I plan to pay cash for a relatively cheap condo this year, 1.5M baht. So maybe no deduction possible?

Br

Allan

Link to comment
Share on other sites

Hi,

Just checked more details in the Thai documentation:

1) You can deduct only if buy a new condo or house. Not for 2nd hand.

2) Not mentioned about that a mortage is required. Maybe possible also if paid by cash.

I will clarify these issues with the Tax consultant from my company tomorrow and reply back.

Br

Allan

Link to comment
Share on other sites

What a translation... doesn't really help...

1- "Need to be the main residence + Need to transfer the ownership of the property between 01/01/09 and 31/12/09. It should never have been transferred before (new buildings/condo only)."

2 - "You can deduct from your taxable income the amount you actually paid for the ownership but limited to 300K. The payment should be done between 01/01/09 and 31/12/09" I have been confirmed that it's the amount you actually pay by yourself, excluding any mortgage. So if you pay cash, you're good, otherwise... This point is not very logical to me but hey!, TIT.

3 - If you buy several properties, your deduction will be 300K max for all.

4 - If you're buying with other people, the deduction will be 300k max for all together.

..... then it explains for specific cases what happens (if you're married with joint/separate declarations.)

Remark -2- : you need to provide a certificate written by the buyer to get the tax deduction. It says how much you actually paid. http://www.rd.go.th/publish/fileadmin/user.../kormor/att.pdf

Remark -3- : you need to remain the owner for not less than 3 years, except if you die :)

Remark -4- : If you already got the tax deduction but you sell before 3 years, you are not entitled to get the deduction, so you will need to add it back to your taxable income...

I think that's more or less what people want to know

Link to comment
Share on other sites

Thank you jlelouer,

So it seems I will be able to deduct tax, even though I pay cash.

I still have to say, that there is a lot of confusion with the legal statements in that letter, as my company and the tax adviser are still not clear about the exact condition to be met. They are checking at the moment for condition if mortage is required etc, and they were unable to answer today. They plan to announce this new tax law to all employess asap, but unable to do so, as there are unclear things still.

Br

Allan

Link to comment
Share on other sites

Create an account or sign in to comment

You need to be a member in order to leave a comment

Create an account

Sign up for a new account in our community. It's easy!

Register a new account

Sign in

Already have an account? Sign in here.

Sign In Now
  • Recently Browsing   0 members

    • No registered users viewing this page.








×
×
  • Create New...
""