Jump to content

Recommended Posts

Posted

I pulled this from a scholarly article I found on the net:

นักวิชาการบางท่านได้แสดงความเห็นไว้ว่า การแก้ปัญหาในลักษณะนี้จะส่งผลเสียต่อวัฒนธรรมการชำระหนี้ของประชาชน และส่งผลให้คนใช้จ่ายเงินเกินตัว มีหลายท่านได้หยิบยกเอาคำว่า Moral Hazard มาใช้กับเหตุการณ์นี้

Moral Hazard ที่บางท่านใช้คำไทยแทนว่า "ความเสี่ยงทางศีลธรรม" หรือ "จรรยาบรรณวิบัติ" มักเกิดขึ้นภายหลังจากการทำสัญญา โดยจะหมายถึงเหตุการณ์ที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดสามารถ แอบกระทำการโดยที่คู่สัญญา ไม่สามารถล่วงรู้ได้ หรือไม่มีหลักฐานเพียงพอจะเอาผิด ซึ่งการกระทำนั้นสร้างผลเสียให้กับคู่สัญญา ในลักษณะของการสูญเสียมูลค่าของทรัพย์สิน หรือความเสียหายในทางการเงินต่างๆ

ยกตัวอย่างเช่น หากบุคคลหนึ่งกู้ยืมเงินจากธนาคารไป โดยบอกว่าจะนำไปใช้ลงทุนทำธุรกิจ แต่เขาผู้นั้นกลับใช้เงินที่กู้ยืมมาไปกับการซื้อสินค้าบริโภคอันฟุ่มเฟือยแทนการลงทุน เมื่อถึงคราวต้องชำระเงินกู้คืนนั้นก็ไม่มีเงินมาคืนให้ แต่กลับกล่าวอ้างว่านำเงินกู้ไปลงทุนแล้ว และการลงทุนเกิดความเสียหายไม่อาจสร้างรายได้ดังที่คาดการณ์ไว้ได้

ในตัวอย่างข้างต้นนี้ ธนาคารไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าการที่ลูกหนี้ประสบปัญหาการชำระหนี้คืนนั้น เป็นเพราะลูกหนี้ใช้เงินกู้ไปตรงตามที่ควรแล้ว แต่ประสบปัญหาทางธุรกิจจริงๆ หรือเป็นเพราะใช้เงินกู้ไม่ถูกทางกันแน่

It is long winded, but to explain it to someone in english isn't as straightfoward as it sounds.

http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q4/a...2005oct13p9.htm

Posted

You could just explain what you mean in that particular case... If you use the alternatives suggested in the article (ความเสี่ยงทางศีลธรรม) or (จรรยาบรรณวิบัติ), the person who you are talking to would have to be highly educated within the very field of study the term belongs to in order to understand it.

I actually think most Westerners would be unfamiliar with the concept as well.

Drawing from your own hypothetical example, the husband might say:

I would rather not pay off your uncle's debt because then I may encourage his behaviour. If he experiences no negative consequences of his behaviour he may be led to think he can gamble to his heart's content, because somebody else will pay the debts for him.

Create an account or sign in to comment

You need to be a member in order to leave a comment

Create an account

Sign up for a new account in our community. It's easy!

Register a new account

Sign in

Already have an account? Sign in here.

Sign In Now
  • Recently Browsing   0 members

    • No registered users viewing this page.



×
×
  • Create New...